วันเสาร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2558

งานวิจัยคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



สรุปงานวิจัย


น้องหมูหัวเราะ


ชื่อวิจัย : การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กากมะพร้าว

ผู้วิจัย : วรัญชลี รอตเรือง


 เป็นการทำให้ทราบถึงการคิดเชิงเหตุของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมสิลปสร้างสรรค์โดยใช้กากมะพร้าว เพื่อเป็นแนวทางสำหรับครู ผู้บริหาร และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกาาปฐมวัยที่จะนำไปใช้เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการคิดเชิงเหตุผล ตลอดจนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ให้มีความเหมาะสมกับเด็กปฐมวัยมากยิ่งขึ้น


กลุ่มตัวอย่าง : เด็กปฐมวัยชาย-หญิง อายุ 4-5 ปี ที่กำลังสึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนวัดสะแกงาม สำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 36 คน


สรุปผลการวิจัย : เด็กปฐมวัยหลังจากที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กากมะพร้าว มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล คือ การเปลี่ยนแปลงของการคิดเชิงเหตุผลรายด้านของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กากมะพร้าวเพิ่มขึ้น พบว่า.. เด็กปฐมวัยมีการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล ด้านอนุกรมเพิ่มขึ้นมากเป็นอันดับ 1 รองลงมาคือ ด้านการเปรียบเทียบ ด้านการจัดประะเภท และด้านกานหาส่วนที่หายไป ตามลำดับ


วันอังคารที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2 ประจำวันศุกร์ที่ 16 มกราคม 2558




บันทึกการเรียน



ความรู้ที่ได้รับ

       
   - ความหมายของคณิตศาสตร์
        เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณ การคิดเลข เป็นวิชาที่มีความสำคัญกับทุกๆอาชีพ เด็กจะเรียนรู้คณิตศาสตร์จากสิ่งรอบตัวไม่ใช่เฉพาะตัวเลข โดยเกิดจาการสังเกตและเปรียบเทียบ ยิ่งเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวและสัมผัสได้ ก็จะทำให้เข้าใจได้ง่ายและดีขึ้น


     - ความสำคัญของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต ทำให้มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผล มีนิสัยละเอียดอ่อน รอบคอบ มีไหวพริบปฎิภานที่ดี 


      - ทักษะพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย
เป็นกระบวนการทางความคิดที่ต้องจัดความเหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก มี 5 ทักษะ. 

                1.จำนวนและการดำเนินการ
                2.การจัด
                3.เลขาคณิต
                4.พีชคณิต
                5.การสิเคาระห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น


       - ประโยชน์ของคณิตศาสตร์
ทำให้เด็กเรียนรู้การจำแนกออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะหรือขนาด คณิตศาสต์ช่วยส่งเสริมในการประกอบอาชีพต่างๆ



ทักษะ
อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มแล้วสรุป ความหมายของคณิตศาสตร์  ความสำคัญ ทักษะ และประโยชน์ของคณิตศาสตร์ พร้อมออกมานำเสนอ



วิธีสอน

บรรยายพร้อมมีการถามตอบ มีใบงานแจกให้แต่ละกลุ่มระดมสมองสรุปแล้วให้ออกมานำเสนอ

ประเมินสภาพห้องเรียน

ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย แต่ขาดเครื่องโปรเจคเตอร์

ประเมินตนเอง

ตั้งใจเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมมีพูดคุยบ้างเล็กน้อยในเวลาเรียน

ประเมินเพื่อน

เพื่อนพูดคุยกันขณะที่อาจารย์กำลังสอน แต่ทุกกลุ่มและทุกคนให้ความร่วมมือดี

ประเมินอาจารย์

อาจารย์เข้าสอนช้า แต่เนื้อหาการสอนครบถ้วน เป็นกันเอง สนุก  อาจารย์ตั้งใจสอนดีมาก

บันทึกการเรียนครั้งที่ 1 ประจำวันศุกร์ที่ 9 มกราคม 2558




บันทึกการเรียนครั้งที่ 1



ความรู้ที่ได้รับแต่ละด้านในรายวิชานี้

 องค์ประกอบของบล็อก
1. ความรู้ที่ได้รับ
2. ทักษะ
3. วิธีสอน
4. ประเมินสภาพห้องเรียน ตนเอง เพื่อน และอาจารย์


ทักษะ

ทำ My mapping


วิธีสอน

  นักศึกษาแสดงความเห็นเกี่ยวพื้นฐานเกี่ยวกับวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยมามากน้อยแค่ไหนและสร้างในรูปแบบ My mapping ตามความคิดของตนเอง





ประเมินสภาพห้องเรียน

   บรรยากาศเย็นสบาย ห้องเรียนสะอาด แต่จะขาดเครื่องฉายวีดีทัศน์

ประเมินตนเอง

ตั้งใจเรียนตั้งใจฟังไม่พูดคุยขณะที่อาจารย์กำลังสอน

ประเมินเพื่อน

  เพื่อนทุกคน  ช่วยกันตอบคำถามอาจารย์ดีมาก

ประเมินอาจารย์
  อาจารย์มีความเป็นกันเอง อธิบายแนวทางการสอนได้อย่างชัดเจน

บทความคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



 
สรุปบทความคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


เรื่อง. สอนคณิตศาสตร์ให้สนุกอย่างไร (สำหรับเด็กปฐมวัย)
ผู้แต่ง. วรารัตน์ สิริจิตตราภรณ์ : โรงเรียนบ้านเชิงดอย (ดอยสะเก็ดศึกษา)

 สำหรับเด็กปฐมวัยคณิตศาสตร์ถือเป็นเรื่องยาก แต่เราสามารถทำคณิตสาสตร์เป็นเป็นเรื่องงายได้โดยการให้เด็กได้ใช้ความคิดในเชิงสร้างสรรค์ ได้เรียนรู้อย่างสนุกสนานซึงเด็กปฐมวัยจะเรียนรู้ได้ง่ายและรวดเร็ว จากการเล่น ได้จับได้สัมัส และทำสิ่งนั้นด้วยตนเอง เพราะฉะนั้นเราควรสอนคณิตศาสตร์ให้เหมือนกับการเล่นเกมส์หรือทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เด็กได้สนุกและเพลิดเพลินไปกับมมัน และหากเด็กเล่นเกมส์ชนะ หรือทำอะไรถูกต้อง เราก็ควรที่จะมีการชมเช่การปรมมือชื่นชม ให้กำลังใจ หรือการให้างวัล เป็นต้น
 

http://www.km-cm1.net/index.php?name=knowledge&file=readknowledge&id=68